เงินสมทบประกันสังคม

33 39 40 ม เงินสมทบประกันสังคมหักกี่เปอร์เซ็นต์?

Click to rate this post!
[Total: 150 Average: 5]

เงินสมทบประกันสังคม

เงินสมทบประกันสังคม

เงินสมทบประกันสังคม

ผู้ประกันตนมาตรา 33

เงินสมทบประกันสังคม

เงินสมทบประกันสังคม

อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ปี 2564 เดือน มกราคม – เดือน สิงหาคมเงินสมทบประกันสังคม

ประจำงวด อัตราเงินสมทบ (%) เงินสมทบสูงสุดไม่เกิน (บาท)
นายจ้าง ลูกจ้าง นายจ้าง ลูกจ้าง
มกราคม 3% 3% 450 บาท 450 บาท
กุมภาพันธ์ 3% 0.5% 450 บาท 75 บาท
มีนาคม 3% 0.5% 450 บาท 75 บาท
เมษายน 5% 5% 750 บาท 750 บาท
พฤษภาคม 5% 5% 750 บาท 750 บาท
มิถุนายน 2.5% 2.5% 375 บาท 375 บาท
กรกฏาคม 2.5% 2.5% 375 บาท 375 บาท
สิงหาคม 2.5% 2.5% 375 บาท 375 บาท
กันยายน เป็นต้นไป 5% 5% 750 บาท 750 บาท

1.อัตราอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ปี2564 เดือน มกราคม

  • นายจ้างจ่าย 3% สูงสุดไม่เกิน 450 บาท
  • ลูกจ้างจ่าย 3% สูงสุดไม่เกิน 450 บาท
    • ตัวอย่าง พนักงานเงินเดือน 15,000 บาท
    • นายจ้างต้องจ่ายให้ลูกจ้าง จำนวน 450 บาท
    • ลูกจ้างจะถูกหัก  450 บาท
    • รวมต้องจ่ายให้สำนักงานประกันสังคม 900 บาท

2.อัตราอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ปี2564 เดือน กุมภาพันธ์ – มีนาคม

  • นายจ้างจ่าย 3% สูงสุดไม่เกิน 450 บาท
  • ลูกจ้างจ่าย 0.5% สูงสุดไม่เกิน 75 บาท
    • ตัวอย่าง พนักงานเงินเดือน 15,000 บาท
    • นายจ้างต้องจ่ายให้ลูกจ้าง จำนวน 450 บาท
    • ลูกจ้างจะถูกหัก  75 บาท
    • รวมต้องจ่ายให้สำนักงานประกันสังคม 525 บาท

3.อัตราอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ปี2564 เดือน เมายน – พฤษภาคม

  • นายจ้างจ่าย 5% สูงสุดไม่เกิน 750 บาท
  • ลูกจ้างจ่าย 5% สูงสุดไม่เกิน 750 บาท
    • ตัวอย่าง พนักงานเงินเดือน 15,000 บาท
    • นายจ้างต้องจ่ายให้ลูกจ้าง จำนวน 750 บาท
    • ลูกจ้างจะถูกหัก  750 บาท
    • รวมต้องจ่ายให้สำนักงานประกันสังคม 1,500 บาท

4.อัตราอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม ปี2564 เดือน มิถุนายน – สิงหาคม

  • นายจ้างจ่าย 2.5% สูงสุดไม่เกิน 375 บาท
  • ลูกจ้างจ่าย 2.5% สูงสุดไม่เกิน 375 บาท
    • ตัวอย่าง พนักงานเงินเดือน 15,000 บาท
    • นายจ้างต้องจ่ายให้ลูกจ้าง จำนวน 375 บาท
    • ลูกจ้างจะถูกหัก  375 บาท
    • รวมต้องจ่ายให้สำนักงานประกันสังคม 750 บาท

ผู้ประกันตนมาตรา 39

อัตราเงินสมทบประกันสังคม

ประจำงวด เงินสมทบ
มกราคม 248 บาท
กุมภาพันธ์ 38 บาท
มีนาคม 38 บาท
เมษายน 432 บาท
พฤษภาคม 432 บาท
มิถุนายน 216 บาท
กรกฎาคม 216 บาท
สิงหาคม 216 บาท

ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 คือ ผู้ที่เคยทำงานในบริษัท หรืออยู่ในมาตรา 33 มาก่อน แต่ว่างงาน หรือลาออก ไม่เกิน 6 เดือน และเคยส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือนขึ้นไป แต่ยังอยากได้รับสิทธิ์ประโยชน์จากประกันสังคมอยู่ รัฐบาลกำหนดให้ส่งเงินสมทบ เหลือเดือนละ 4.5% จากเดิม 9% (ตั้งแต่เดือน มิถุนายน – สิงหาคม) โดยเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบ คือ เดือนละ 4,800 บาท เท่ากันทุกคน

ตัวอย่าง เช่น

เงินเดือน 4,800 บาท (เงินเดือน) x 4.5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 216 บาท (จำนวนเเงินที่ถูกหัก)

ผู้ประกันตนมาตรา 40

อัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคมปี2564

ผู้ประกอบอาชีพอิสระเช่น อาชีพอิสระ ฟรีแลนซ์ ค้าขาย

  • ไม่มีนายจ้างประจํา
  • อายุ 15-65 ปี

การจ่ายเงินสมทบในอัตราปกติ

  • ทางเลือกที่1 : 70 บาท/เดือน   ได้รับสิทธิประโยชน์เมื่อ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต
  • ทางเลือกที่ 2 : 100 บาท/เดือน  ได้รับสิทธิประโยชน์เมื่อ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ
  • ทางเลือกที่ 3 : 300 บาท/เดือน ได้รับสิทธิประโยชน์เมื่อ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ สงเคราะห์บุตร

วันที่ 15 มิถุนายน 2564 มีประการให้ทำการปรับลดอัตราเงินสมทบลง เหลือร้อยละ 60 % เป็นเวลา 6เดือนเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ประกันตนตามมาตร40 ในสถานการ์ณโรคระบาดโควิด-19 โดยการเงินส่งทบมีดังนี้

  • ทางเลือกที่1 : 42 บาท/เดือน   จากอัตราดิม 70 บาท/เดือน
  • ทางเลือกที่ 2 : 60 บาท/เดือน   จากอัตราดิม 100 บาท/เดือน
  • ทางเลือกที่ 3 : 180 บาท/เดือน จากอัตราดิม 300 บาท/เดือน

ส่วนร่างกฎกระทรวงจะทำให้รัฐบาลต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมลดลงเหลือร้อยละ 60 ในทั้งสามประเภทเช่นเดียวกัน

  • ทางเลือกที่1 : 21 บาท/เดือน   จากอัตราดิม 30 บาท/เดือน
  • ทางเลือกที่ 2 : 30 บาท/เดือน   จากอัตราดิม 50 บาท/เดือน
  • ทางเลือกที่ 3 : 90 บาท/เดือน จากอัตราดิม 150 บาท/เดือน

อัตราการส่งเงินสททบของผู้ประกันตนมาตรา 40 เดิม

ผู้ประกันตนได้รับความคุ้มครองเมื่อ ทางเลือกที่1

จ่าย 70 บาท /เดือน

ทางเลือกที่2

จ่าย 100 บาท /เดือน

ทางเลือกที่3

จ่าย 300 บาท /เดือน

1.กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้
-ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1วันขึ้นไป วันละ 300 บาท วันละ 300 บาท วันละ 300 บาท
-ผู้ป่วยนอก(ไม่นอนโรงพยาบาล)

ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป

วันละ 200 บาท วันละ 200 บาท วันละ 200 บาท
-เงื่อนไขการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน ไม่เกิน 30วัน/ปี ไม่เกิน 30วัน/ปี ไม่เกิน 90วัน/ปี
-ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 3วัน

(ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง)

วันละ 50 บาท วันละ 50 บาท ไม่คุ้มครอง
2.กรณีทุพพลภาพ รับค่าทดแทนขาดรายได้
-ได้รับค่าทดแทนรายเดือน

(ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน)

500 – 1,000บาท 500 – 1,000บาท 500 – 1,000บาท
-ได้รับค่าทดแทนเป็นระยะเวลา เป็นเวลา 15 ปี เป็นเวลา 15 ปี ตลอดชีวิต
-เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ 20,000 บาท 20,000 บาท 40,000 บาท
3.กรณีเสียชีวิตได้เงินค่าทำศพ
-ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ 20,000 บาท 20,000 บาท 40,000 บาท
-จ่ายเงินสมทบครบ 60 เดือนก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม รับเพิ่ม 3,000บาท รับเพิ่ม 3,000บาท ไม่คุ้มครอง
4.กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล
-สะสมเงินบำเหน็จชราภาพ(เงินออม)จากเงินสมทบ เดือนละ

(ได้รับเงินเมื่ออายุครบ 60ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน)

ไม่คุ้มครอง 50 บาท 150 บาท
-จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนรับเงินเพิ่ม ไม่คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง รับเพิ่ม 10,000 บาท
-ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ไม่เกินเดือนละ ไม่คุ้มครอง ออมเพิ่มได้

1,000 บาท

ออมเพิ่มได้

1,000 บาท

5.กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือน
-ได้รับเงินวงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์

(จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน)

ไม่คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง คนละ 200 บาท

(คราวละไม่เกิน 2 คน)

อัตราการส่งเงินสททบของผู้ประกันตนมาตรา 40 ที่ปรับลด 60 % เป็นเวลา 6 เดือน

ประเภทการส่งเงินสมทบ อัตราสมทบใหม่ อัตราเงินสมทบเดิม
ทางเลือกที่ 1 ได้ประโยชน์ 3 กรณี 42 บาท/เดือน 70 บาท/เดือน
ทางเลือกที่ 2 ได้ประโยชน์ 4 กรณี 60 บาท/เดือน 100 บาท/เดือน
ทางเลือกที่ 4 ได้ประโยชน์ 5 กรณี 180 บาท/เดือน 300 บาท/เดือน

รัฐบาลต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมลดลงเหลือร้อยละ 60 ในทั้งสามประเภทเช่นเดียวกันดังนี้

ประเภทการส่งเงินสมทบ อัตราสมทบใหม่ อัตราเงินสมทบเดิม
กรณีเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 30 บาท/เดือน 21 บาท/เดือน
กรณีเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 2 50 บาท/เดือน 30 บาท/เดือน
กรณีเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 150 บาท/เดือน 90 บาท/เดือน
ข้อมูล ณ วันที่  16 มิถุนายน 2564