ถอดvat7

7% VAT วิธีคิดเอง ก่อนภาษีย้อนกลับถอดราคาแบบง่ายสุดๆ?

Click to rate this post!
[Total: 198 Average: 5]

วิธีถอด vat

เรื่องน่ารู้..การถอด VAT ภาษีมูลค่าเพิ่ม หากปราศจากเครื่องมือการคิดคำนวณแล้วหลายคนอาจจะไม่ทราบว่าภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นจะต้องมีขั้นตอนการคิดอย่างไร เพราภาษีนั้นถือเป็นเรื่องที่ไม่ได้ไกลตัวเราแต่อย่างใด ฉะนั้นวันนี้พวกเรามาสละเวลาสักนิดเพื่อทำความเข้าใจในเรื่องภาษีให้มากขึ้นเพื่อประโยชน์ของเราเองกันเถอะ
ถอด Vat
ถอด Vat
ภาษีคืออะไร ที่ได้ยินคำว่า “ภาษี” แท้จริงแล้วหมายถึงอะไรกันแน่ แล้วสำคัญมากน้อยขนาดไหน ไปดูกันเลย ภาษี (Tax) คือ สิ่งที่ถือเป็นภาระของประชาชนทุกคนที่จะต้องมีหน้าที่ในการนำส่งให้กับรัฐบาล ตามจำนวนที่กฎหมายได้กำหนดเอาไว้ โดยถือเป็นการสนับสนุนรัฐรวมทั้งสนับสนุนกิจการของรัฐ ซึ่งประชาชนถือเป็นบุคคลที่มีหน้าที่เป็น “ผู้เสียภาษี” หรือจ่ายเงินให้รัฐจัดสรรประโยชน์นั้นเอง แล้วประชาชนหรือผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีนั้นได้อะไรกลับคืน ก็อาจจะเป็นผลประโยชน์ทางตรงรวมทั้งทางอ้อมที่รัฐฯจะจัดสรรนโยบายขึ้นมาเพื่อจัดการบริหารประเทศหรือพัฒนาประเทศ

วิธีคิด vat 7

    1. คำนวน vat = ยอดก่อน vat * 0.07
  1. หายอด vat = ราคาก่อน vat * 7/100

วิธีคิด vat 7 เครื่องคิดเลข

เครื่องคิดเลขจะมีปุ่ม % สำหรับใช้ในการคำนวณเปอร์เซ็นต์อยู่ ซึ่งสามารถใช้คำนวณ VAT ได้ง่ายขึ้น ด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้
  1. กดเลขราคาจริงของสินค้าและบริการนั้น ๆ
  2. กดปุ่มเครื่องหมายบวก (+)
  3. กดเลข 7 แล้วตามด้วยปุ่ม %
  4. กดปุ่มเท่ากับ (=)
เพียงเท่านี้เครื่องคิดเลขก็จะแสดงผลลัพธ์เป็นราคาแบบรวม VAT 7% เรียบร้อยแล้วออกมาทันที

วิธีคิด vat 7 ย้อนกลับ

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม
    1. หายอดก่อน vat = ราคารวม vat * 100/107
    1. ถอด vat = ราคารวม vat – vat
    1. หายอดรวม vat = ยอดก่อน vat + vat
    1. หายอดรวม vat = ราคาก่อน vat * 107/100
  1. หายอดรวม vat = ราคาก่อน vat * 1.07

ทำไมต้องมีการเก็บภาษี

ใครหลายคนอาจจะสงสัยว่าทำไมจะต้องมีการเก็บภาษีด้วย แล้วภาษีนั้นสร้างประโยชน์อะไรได้บ้าง เราไปดูกันเลย กล่าวได้ว่าภาษีเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญอย่างหนึ่งหรือเป็นรายได้หลักของประเทศก็ว่าได้ เพราะทุก ๆ ย่างที่เราใช้จ่ายในชีวิตประจำวันจะถูกหักไปเป็นภาษีทางอ้อม และจะต้องมีการเสียภาษีทางตรงประจำปี เพื่อนำภาษีจากประชาชนเพื่อไปพัฒนาประเทศของเรา โดยจะนำภาษีเหล่านี้ที่เก็บ ๆ ได้มาเพื่อสาธารณะประโยชน์โดยรวมของคนในชาตินั้นเอง พูดอย่างนี้อาจจะไม่ค่อยเห็นภาพ ฉะนั้นเราจะมายกตัวอย่างการนำภาษีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ดังนี้
  • เป็นกองทุนเพื่อจ่ายค่าเรียนให้ประชาชนที่รายได้น้อย
  • เพื่อเป็นส่วนช่วยค่ารักษาพยาบาลให้คนจ่ายได้ถูกลง
  • สร้างความมั่นคงของชาติ
  • เป็นรายได้ของข้าราชการที่ทำงานเพื่อประชาชน
รายได้ที่ไม่ใช่การเก็บภาษีของรัฐ ตัวอย่างข้างต้นเป็นส่วนหนึ่งของการนำภาษีไปใช้จ่ายเพื่อประชาชนนั้นเอง แล้วถ้าไม่มีการเก็บภาษีรัฐบาลจะหารายได้จากช่องทางไหนได้อีกบ้าง รัฐฯ สามารถสร้างรายได้โดยไม่มีการเก็บภาษีหรือจะเรียกว่าเป็นการทำธุรกิจส่วนตัวก็ว่าได้ เช่น มีการไฟฟ้า การประปา รวมทั้งมีหน่วยงานรัฐวิสาหกิจต่าง  ๆ ก็ถือเป็นการหารายได้อีกทางของภาครัฐเช่นกัน ตลอดจนรัฐเองก็มีการขอกู้เงินด้วยเช่นกัน หรือที่เรียกว่าเป็นพันธบัตรรัฐบาลนั้นเอง เป็นต้น ความหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือเรียกว่า VAT ย่อมาจาก Value Added Tax ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นลักษณะของภาษีประเภทหนึ่งตามประมวลรัษฎากร โดยถือได้ว่าภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นเป็นรายการหนึ่งของที่จะต้องเสียภาษีของประชาชนทั่วไปนั้นเอง ซึ่งจะมีการเรียกเก็บหรือจัดเก็บต่อเมื่อมีการซื้อขายเกิดขึ้น โดยจะเรียกเก็บจากการซื้อขายสินค้าหรือใช้จ่ายบริการซึ่งอยู่ภายในประเทศ หรือเมื่อมีการนำเข้าสินค้าภายในประเทศเกิดขึ้น มูลค่าที่จัดเก็บเพิ่มจะคิดในอัตรา 7% จึงถูกเรียกว่า ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือเรียกว่า VAT ทั้งนี้สำหรับอัตราการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ถูกคำนวณมาจาก = ภาษีมูลค่าเพิ่ม 6.3% + ภาษีท้องถิ่น 0.7% นั้นเอง เมื่อมีการจัดเก็บขึ้นเมื่อไรก็ตาม จะต้องนำภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) 7% นี้นำส่งไปยังหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการจัดเก็บเรื่องภาษีโดยตรงก็คือ “กรมสรรพากร”

วิธี การ ถอด vat

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) 7% จะคิดเมื่อมีได้มูลค่าสินค้าหรือบริการหลังจากหักส่วนลดทุกอย่างแล้ว สูตร มูลค่าสินค้า / บริการ x อัตราภาษี = ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT 7% ตัวอย่างเช่น 100 (มูลค่าสินค้า/ บริการ) x 7 (อัตราภาษี) = 107 (ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT 7%) หมายความว่า หากทำการขายสินค้าชนิดนั้นมูลค่าที่ลูกค้าจำต้องจ่ายจริงเป็นเงินทั้งสิ้น 107 บาท คือ 100+7 บาท เพราะสินค้าจะต้องถูกนำส่วนที่เป็นภาษีส่วนต่างไปคำนวณเพื่อหา “ภาษีเงินได้” และผู้ขายหรือเจ้าของกิจการนั้น ๆ ที่ได้คิดภาษีจะต้องนำส่วนนี้เพื่อนำส่งแก่กรมสรรพากรในเดือนถัดไปด้วยนั้นเอง โดยเราจะเรียกภาษีที่เพิ่มขึ้นมาตอนขายว่า “ภาษีขาย” เราจะสามารถหาสูตรคำนวณ VAT โดยใช้วิธีการแบ่งลักษณะการหา VAT ได้โดยหาราคาก่อน หรือหาราคาเฉพาะ VAT
  • กรณีหาราคาก่อน VAT สูตร ราคาก่อน VAT = ราคารวม VAT x 100/107
  • กรณีหาเฉพาะมูลค่า VAT สูตร มูลค่า VAT = ราคารวม VAT x 7/107
กิจการที่ต้องมีการหักภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ไม่ใช่ทุกกิจการจะต้องเสียภาษีดังกล่าว โดยจะแบ่งกิจการที่จะต้องถูกหักภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) 7% นี้ได้ 3 กิจการ ดังต่อไปนี้
  1. กิจการซึ่งถือเป็นการขายสินค้าที่อยู่ในประเทศ
  2. กิจการซึ่งถือเป็นการให้บริการที่อยู่ในประเทศ
  3. กิจการซึ่งถือเป็นผู้นำเข้าสินค้ามายังภายในประเทศ
กิจการที่จะต้องจดทะเบียนเข้าระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT 7% ให้ผู้ประกอบการที่ขายสินค้านั้น ๆ ตั้งยอดไว้เลยว่าตนเองได้ขายสินค้าหรือได้ให้บริการมากกว่า หรือน้อยกว่า 1.8 ล้านบาท
  1. กิจการที่ต้องถูกบังคับจดทะเบียน VAT คือ กิจการที่ได้ขายสินค้าหรือบริการในประเทศโดยมียอดเกินมูลค่า 1.8 ล้านบาทขึ้นไปในระหว่างปี  หรือคิดเป็นยอกขายสินค้าหรือบริการที่เกิน 1.5 แสนบาทต่อเดือน ถือเป็นกิจการที่ถูกบังคับจดทะเบียน VAT
  2. กิจการที่ไม่ต้องถูกบังคับจดทะเบียน VAT คือ กิจการที่ได้ขายสินค้าหรือบริการในประเทศโดยมียอดไม่เกินมูลค่า 1.8 ล้านบาทในระหว่างปี ถือเป็นกิจการที่ไม่ต้องถูกบังคับจดทะเบียน VAT หรือเรียกได้ว่าเป็นกิจการขนาดย่อมนั้นเอง
ภาษีมูลค่าเพิ่มเหมือนกับภาษีหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่ หลักการคำนวณภาษีจำแบ่งเป็น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ( VAT ) 7% และภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3% ซึ่งจะไม่เหมือนกัน อย่าได้สับสนหรือนำมาปนกัน เพราะมีหลักการหักเพื่อนำส่งไม่เหมือนกัน
วิธีคิด vat 7 ย้อนกลับ
วิธีคิด vat 7 ย้อนกลับ
ก่อน vat
ก่อน vat
ราคาก่อน vat
ราคาก่อน vat
หายอด ก่อนvat
หายอด ก่อนvat
วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่มคิดอย่างไร
วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่มคิดอย่างไร
วิธีคิด vat 7 ย้อนกลับ excel
วิธีคิด vat 7 ย้อนกลับ excel
ราคารวม vat
ราคารวม vat

สรุป

เรื่องการเสียภาษีถือเป็นภาระหน้าที่ของประชาชนทุกคน ที่จะต้องมีการเสียภาษี สำหรับการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเรื่องของผู้ประกอบการโดยตรงที่จะตระหนักก่อนว่าเราเป็นกิจการที่เข้าข่ายกิจการที่ต้องลดทะเบียน VAT หรือไม่ก่อน โดยคำนวณจากหลักเกณฑ์เรื่องรายได้ของยอกขายสินค้าหรือให้บริการระหว่างปีเป็นหลักนั้นเอง หากไม่มีการเสียภาษีอย่างถูกต้องก็จะทำให้กรมสรรพากรมีสิทธิเรียกเก็บภาษีได้ในภายหลังหรืออาจจะถูกค่าปรับก็เป็นได้ ทางที่ดีกิจการจะต้องมีการตระหนักเรื่องการเสียภาษีและรู้จักสูตรการคำนวณภาษีให้ได้ คำค้น : วิธี วิธี 7 วิธี การ  การ  การ  7 วิธี 7 เครื่องคิดเลข 7 โปรแกรม   ยังไง คิด  7  คิดยังไง  excel  7 คิดยังไง วิธี 3 วิธี และ service สูตร excel  สูตร  คิด ยอด  วิธี   7 ยังไง วิธี เครื่องคิดเลข สูตร วิธี การ  สูตร การ   7 excel 0.07  online  7 ออนไลน์ วิธี 7 เปอร์เซ็นต์  จากราคาเต็ม วิธี การ  7  สูตร  ใน สูตร  7 excel วิธี  7  เครื่องคิดเลข 3 วิธี จากราคาเต็ม วิธี ออก วิธีคิด  การ  ทํา อย่างไร คะ คือ วิธี 7% สูตร  7  7 เครื่องคิดเลข วิธี 7 ใน excel  หัก ณ ที่จ่าย  สินค้า  7 ทําอย่างไร วิธี ใน excel
[smart_post_show id=”200252″] อ่านบทความทั้งหมด >>> pangpond.com