จรรยาบรรณ คือ ความหมาย 7 สำคัญ หมายถึง จันยาบัน

จรรยาบรรณ
Click to rate this post!
[Total: 287 Average: 5]

จรรยาบรรณ

จรรยาบรรณ คือ (Ethics) ตามพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 : 134 หมายถึง ความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ กําหนดขึ้น เพื่อรักษาชื่อเสียงเกียรติคุณ ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2542 : 28 ; อ้างอิงมาจาก Boston Ally and Bacon. 1994 : 65) ได้ให้ความหมายคําว่า จรรยาบรรณ ไว้ว่าคือ มาตรฐานของความประพฤติและการใช้ดุลยพินิจทางศีลธรรมที่ว่าการกระทําของบุคคล / องค์กรถูกหรือผิด สมควรหรือไม่สมควร จากแนวความคิดดังกล่าวจึงสรุปได้ว่า จรรยา บรรณ เป็นแนวทางที่บุคคลในองค์กรนั้นๆ ใช้เป็นหลักยึดถือปฏิบัติในการทํางานและแนวทางนั้นจะต้องสอดคล้องกับสภาพสังคม หลักธรรมที่ดีงามขององค์กร และเกิดประโยชน์ต่อสังคมและความประพฤติ

จรรยา บรรณ จึงมีความสําคัญเพราะเป็นพื้นฐานแนวทาง ต่อการปฏิบัติงานในอาชีพทุกอาชีพ ซึ่งจรรยา บรรณจะช่วยควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในองค์กรในแต่ละบทบาทหน้าที่ ช่วยให้การปฏิบัติหน้าที่การทํางานเป็นไปโดยถูกต้อง รวมทั้งทําให้องค์กรมีความสามัคคีและปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างมีความสุขทําให้เกิดประสิทธิภาพในการทํางาน นอกจากนั้นจรรยา บรรณจะช่วยให้การบริหารงานขององค์กรเป็นไปด้วยคุณธรรม ไม่มีการเอารัดเอาเปรียบซึ้งกันและกัน ความสําคัญของจรรยา บรรณ กรมการศาสนา (2522 : 68) ได้ให้สาระสําคัญดังนี้

1. ช่วยควบคุมมาตรฐาน ประกันคุณภาพ และปริมาณที่ถูกต้องในการปฏิบัติงาน และการดําเนินงานขององค์กร
2. ช่วยควบคุมจริยธรรมของบุคคลในองค์กรให้เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม
3. ช่วยส่งเสริมมาตรฐาน คุณภาพ และปริมาณของผลการปฏิบัติงานขององค์กร จัดทําขึ้นให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดีอยู่เสมอ
4. ช่วยส่งเสริมจริยธรรมของบุคคลในองค์กร และดําเนินการให้มีความเมตตา กรุณา เห็นอกเห็นใจต่อผู้ร่วมงานในองค์กร
5. ช่วยลดการเอารัดเอาเปรียบ การฉ้อฉล ความเห็นแก่ตัว ตลอดจนความมักง่าย ใจแคบไม่เคยเสียสละ
6. ช่วยเน้นให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้นในภาพพจน์ที่ดีขององค์กรที่มีจริยธรรม
7. ช่วยทําหน้าที่พิทักษ์สิทธิตามกฎหมายขององค์กร ให้เป็นไปโดยถูกต้องตามทํานองคลองธรรม

บุคคลหรือสมาชิกในองค์กร มีหน้าที่การทํางานทุกชนิดทุกประเภท จําเป็นที่จะต้องคํานึงถึงจรรยา บรรณที่ถูกต้องกับความต้องการของสังคม ที่ยึดถือเป็นหลักของการทํางานขององค์กร จึงจะทําให้สังคมนัันมีระเบียบ วินัย ศิลธรรมและวัฒนธรรมอันดีงาม ในทํานองเดียวกัน หากบุคคลหรือสมาชิกในองค์กร เป็นผู้มีจรรยาบรรณ หรือประพฤติปฏิบัติแต่ในสิ่งที่ดีงาม และควรประพฤติปฏิบัติแล้ว ย่อมจะทําให้การดําเนินงานขององค์กรเป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ บุคคลทุกคนในองค์กรมีความสามัคคี ร่วมใจกันทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ และงานทุกอย่างบรรลุถึงวัตถุประสงค์ตามที่กําหนดไว้ แต่บุคคลหรือสมาชิกในองค์กร หรือประเทศชาติขาดจิตสํานึกของจรรยา บรรณ ก็จะทําให้องค์กร หรือประเทศชาติเกิดวิกฤติในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเช่น วิกฤตทางเศรษฐกิจในยุค IMF ในปัจจุบัน เป็นเพราะบุคคลในทางสถาบันการเงินและผู้นําประเทศบางคน ขาดจรรยา บรรณของอาชีพอย่างแท้จริง จึงส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศชาติตกต่ำ และส่งผลให้ประชาชนทุกคนในประเทศ ได้รับความเดือดร้อนทั่วหน้าทุกคน

จรรยา บรรณของบุคคลในองค์กร จึงเป็นสิ่งจําเป็นและมีความสําคัญอย่างมากขององค์กร และประเทศชาติ เพราะจรรยา บรรณเป็นแนวความคิด ความเชื่อ ค่านิยม กฎหมาย ระเบียบประเพณี และวัฒนธรรมของสังคมที่ดีผสมผสานกันไป เพื่อให้บุคคลและสมาชิกในองค์กรได้ยึดเพื่อเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง และส่งผลต่อประสิทธิภาพการทํางานภายในองค์กร โดยจรรยา บรรณของบุคคลในองค์กรใดก็ตาม สามารถสะท้อนไปให้เห็นได้จากคุณลักษณะ ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดของ เสถียร วรรณปก. (2537 : 40) ได้ให้คุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ดังนี้

ครูจะต้องเป็นครูทุกขณะจิต
ต้องรู้โลกรู้ชีวิตอย่างแจ่มแจ้ง
ต้องมีปฏิภาณโวหารแสดง

ต้องเป็นแหล่งก้าวหน้าวิชาการ
ต้องสอนคนมากกว่าสอนหนังสือ
ไม่เพียงถือชอล์กปากกาพาเรียนอ่าน
หวังอุทิศชีวิตจิตวิญญาณ

ให้แก่งานปลูกฝังในทางดี
ครูเป็นที่รัก – เคารพและยกย่อง
ครูจะต้องตระหนักในศักดิ์ศรี
มีหลักการ เหตุผล กลวิธี

ครูต้องมีความอดทนสร้างผลงาน
ครูต้องมีทั้งความดีและความแก่ง
ครูจะต้องเคร่งจริยะมาตรญาน
เป็นประทีปเจิดจรัสชัชวาล
ส่องนําจิตวิญญาณของปวงชน

 

ที่มา:https://www.rmutk.ac.th/document/janyaban.pdf

บทบาทคอมพิวเตอร์

บทบาทคอมพิวเตอร์ 5 อธิบาย ด้าน งานธุรกิจ สื่อสาร

บทบาทของคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในชีวิต ประ จํา วัน บทบาทคอมพิวเตอร์ด้านการศึกษา ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ด้านธุรกิจ บทบาทคอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในด้านราชการ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจําวัน 5 ข้อ คอมพิวเตอร์มีบทบาทด้านความบันเทิง
เงินปันผล

การจ่าย เงินปันผล 2 หุ้น หลักการ ขั้นตอน

เงินปันผล เรื่องน่ารู้ “เงินปันผล” การลงทุนที่คุ้มค่า สร้างกำไรได้ในอนาคต ความหมายของ “เงินปันผล” ที่มาของ “กำไรสะสม” การจ่ายเงินปันผล คืออะไร หุ้นปันผล ประโยชน์ของการจ่ายหุ้นปันผล ประโยชน์แก่บริษัทที่ถือหุ้น ขั้นตอนการจ่ายเงินปันผล ตัวอย่างประกาศจ่ายเงินปันผลบริษัทจำกัด หลักการบันทึกบัญชี ต้องมีการตั้งสํารองตามกฎหมาย การบันทึกบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม รูปแบบการยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มให้กรรมสรรพากร ปัจจัยที่ควรพิจารณาก่อนเข้าถือหุ้น
วันอัฏฐมีบูชา

วันอัฏฐมีบูชา 10 เมือง สำคัญ พระเพลิง พุทธสริระ

วันอัฏฐมีบูชา ประวัติพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในพุทธประวัติ ประเพณีวันอัฏฐมีบูชาในประเทศไทย พิธีอัฏฐมีบูชา คำถวายดอกไม้ธูปเทียนในวันอัฏฐมีบูชา

การใช้เทคนิคการโยกย้ายร่างกายและการออกกำลังกาย (Movement and Exercise) ในชีวิตประจำวัน

Active exercise คือ Passive ROM exercise ท่า Active exercise ท่า Passive ROM exercise คือ passive exercise ผู้ป่วยติดเตียง การออกกําลังกายแบบ passive exercise Active ROM exercise คือ การออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอ สามารถป้องกันโรคอะไร
กฎหมายนิติบุคคล

นิติบุคคล กฎหมาย 2 ภาษี ตามกฎหมายแพ่ง พาณิชย์

นิติบุคคล คือ สรุปสาระสำคัญ มาทำความรู้จักกับ “นิติบุคคล” การจดทะเบียนนิติบุคคลคืออะไร ลักษณะนี้จะเป็นจัดตั้งธุรกิจใหม่นาม “นิติบุคคล” ซึ่งจะแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ กฎหมายนิติบุคคล เรื่องภาษีที่ควรรู้..กับกฎหมายภาษีอากรสำหรับธุรกิจ ใครคือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ใครคือนิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
มงคง 38 ประการ การ์ตูน

มงคล 38 ชีวิต ประการ คือ สูตร ความหมาย เกิดขึ้น

มงคล ชีวิต 38 ประการ มงคล 38 คือ มงคล 38 หมาย ถึง มงคลสูตร คำ ฉันท์ 38 ประการ
ปก เน็ตเวิร์กเพื่อการเรียนรู้

สร้างเครือข่าย มีส่วนร่วม พัฒนาคุณภาพ การศึกษา

การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม การสร้างภาคีเครือข่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เครือข่ายการศึกษา มีอะไรบ้าง ขั้นตอนการสร้างเครือข่าย การสร้างและพัฒนาเครือข่าย ตัวอย่าง การสร้างเครือข่าย การสร้างเครือข่ายชุมชน การสร้างเครือข่ายในโรงเรียน
ปป

การวางแผนการเงินสำหรับการลงทุนในทรัพยากรบุคคลและพัฒนาความสามารถเสริมในธุรกิจ

การ ลงทุน พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มี ด้าน การจัดการการเงิน สรุป การจัดการการเงิน pdf การวางแผนทางการเงิน มีอะไรบ้าง การวางแผนการเงินส่วนบุคคล pdf การวางแผนการเงินส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง หน้าที่ของการจัดการทางการเงิน การบริหารการเงินของธุรกิจ

Leave a Comment

Scroll to Top